[ใหม่] เหรียญพระเจ้าบรมวงเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ วัดเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร 2535
286 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - เขตตลิ่งชัน - คนดู 16
500 ฿
รายละเอียด
เหรียญพระเจ้าบรมวงเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
วัดเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร 2535
เปิดให้บูชา 500 บาท ค่าส่งไบรษณีด่วน 50 บาท
สนใจโทรสอบถาม คุณธนวัฒน์ 09226368
เสด็จเตี่ย – พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงสักยันต์ทั้งพระองค์ตั้งแต่สมัยวัยหนุ่ม รูปสักมีดังนี้ หนุมาน, ลิงลม(บริเวณพระชงฆ์ เพื่อเดินเร็ว), มังกร (เลื่อยพันบริเวณแขน), อักขระ(บริเวณข้อนิ้ว เพื่อชกต่อยหนัก)
บริเวณอุระสัก “ร.ศ. 112 ตราด” เพื่อจำไม่ลืมกับการบุกรุกของกองเรือรบฝรั่งเศสที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา หลังเหตุการณ์นี้ไทยต้องยอมเสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเพื่อแลกกับอธิปไตยของไทยโดยรวม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มตระหนักว่า การว่าจ้างชาวต่างประเทศเป็นเรื่องไม่น่าวางใจ และทรงริเริ่มฝึกนายทหารเรือเพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนชาวต่างประเทศ เหตุการณ์นี้เกิดเมื่อพระองค์เจ้าอาภากรยังทรงพระเยาว์เพียง 13 ชันษาเท่านั้น เหตุนี้จึงทำให้พระองค์ท่านทรงมุ่งมั่นในการศึกษาวิชาทหารเรือเพื่อกลับมารับใช้บ้านเมือง
หม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง อาภากร พระธิดาของเสด็จในกรมฯมีบันทึกยืนยันว่า ทรงสักทั้งองค์ตั้งแต่สมัยหนุ่มๆ เล่ากันต่อมาว่า เมื่อหลวงปู่ขัน วัดนกกระจาบจะสักอาคมเพิ่มเติมให้ปรากฏว่าพระวรกายไม่มีที่ว่าง จึงได้อักขระ “นะ” คำเดียวที่บริเวณกัณฐมณี (ลูกกระเดือก) เท่านั้น
การที่เสด็จเตี่ยกราบเกจิอาจารย์ขอเป็นศิษย์กับทุกอาจารย์ที่ได้พบนั้น ทำให้พระองค์ทรงเป็นศิษย์หลายครู ครูบาอาจารย์ของพระองค์นั้นมีดังนี้ หลวงปู่ดำ ภูเก็ต, หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ, หลวงปู่ศุข วัดอู่ทอง ปากคลองมะขามเฒ่า (ปัจจุบันเรียก วัดมะขามเฒ่า), หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน, หลวงพ่อจร วัดดอนรวบ, หลวงพ่อเจียม ชลบุรี, หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่นอก,หลวงพ่อเขียว วัดเครือวัลย์, หลวงปู่ขัน วัดนกกระจาบ ฯลฯ
แต่ที่พระองค์ท่านผูกพันจริงๆ ใกล้ชิดเป็นพิเศษมีเพียง 3 รูปคือ หลวงปู่ศุข,หลวงพ่อเงินและหลวงพ่อพริ้งเท่านั้น
วัดเขตอุดมศักดิ์ ชุมพร 2535
เปิดให้บูชา 500 บาท ค่าส่งไบรษณีด่วน 50 บาท
สนใจโทรสอบถาม คุณธนวัฒน์ 09226368
เสด็จเตี่ย – พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงสักยันต์ทั้งพระองค์ตั้งแต่สมัยวัยหนุ่ม รูปสักมีดังนี้ หนุมาน, ลิงลม(บริเวณพระชงฆ์ เพื่อเดินเร็ว), มังกร (เลื่อยพันบริเวณแขน), อักขระ(บริเวณข้อนิ้ว เพื่อชกต่อยหนัก)
บริเวณอุระสัก “ร.ศ. 112 ตราด” เพื่อจำไม่ลืมกับการบุกรุกของกองเรือรบฝรั่งเศสที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา หลังเหตุการณ์นี้ไทยต้องยอมเสียดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเพื่อแลกกับอธิปไตยของไทยโดยรวม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มตระหนักว่า การว่าจ้างชาวต่างประเทศเป็นเรื่องไม่น่าวางใจ และทรงริเริ่มฝึกนายทหารเรือเพื่อปฏิบัติหน้าที่แทนชาวต่างประเทศ เหตุการณ์นี้เกิดเมื่อพระองค์เจ้าอาภากรยังทรงพระเยาว์เพียง 13 ชันษาเท่านั้น เหตุนี้จึงทำให้พระองค์ท่านทรงมุ่งมั่นในการศึกษาวิชาทหารเรือเพื่อกลับมารับใช้บ้านเมือง
หม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง อาภากร พระธิดาของเสด็จในกรมฯมีบันทึกยืนยันว่า ทรงสักทั้งองค์ตั้งแต่สมัยหนุ่มๆ เล่ากันต่อมาว่า เมื่อหลวงปู่ขัน วัดนกกระจาบจะสักอาคมเพิ่มเติมให้ปรากฏว่าพระวรกายไม่มีที่ว่าง จึงได้อักขระ “นะ” คำเดียวที่บริเวณกัณฐมณี (ลูกกระเดือก) เท่านั้น
การที่เสด็จเตี่ยกราบเกจิอาจารย์ขอเป็นศิษย์กับทุกอาจารย์ที่ได้พบนั้น ทำให้พระองค์ทรงเป็นศิษย์หลายครู ครูบาอาจารย์ของพระองค์นั้นมีดังนี้ หลวงปู่ดำ ภูเก็ต, หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ, หลวงปู่ศุข วัดอู่ทอง ปากคลองมะขามเฒ่า (ปัจจุบันเรียก วัดมะขามเฒ่า), หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน, หลวงพ่อจร วัดดอนรวบ, หลวงพ่อเจียม ชลบุรี, หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่นอก,หลวงพ่อเขียว วัดเครือวัลย์, หลวงปู่ขัน วัดนกกระจาบ ฯลฯ
แต่ที่พระองค์ท่านผูกพันจริงๆ ใกล้ชิดเป็นพิเศษมีเพียง 3 รูปคือ หลวงปู่ศุข,หลวงพ่อเงินและหลวงพ่อพริ้งเท่านั้น