[ใหม่] ทดสอบความสมบูรณ์เสาเข็ม
140 สัปดาห์ ที่แล้ว
- กรุงเทพมหานคร - เขตสวนหลวง - คนดู 24
รายละเอียด
ทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มด้วยวิธี Seismic Test (มยผ. 1551-51) สามารถทำการทดสอบได้ทั้งเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงและเสาเข็มเจาะหล่อในที่ ซึ่งเป็นการประเมินสภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็มเบื้องต้น เพื่อให้ทราบว่าเสาเข็มมีการเปลี่ยนแปลงหน้าตัดเนื่องจากเกิดรอยคอดหรือบวม (Neck or Bulge) หรือเกิดโพรง (Void) หรือการแตกหัวของเสาเข็มหรือไม่ว่ามีหน้าตัดเสาเข็มอย่างไร
วัตถุประสงค์ในการทดสอบเสาเข็ม เพื่อใช้ประเมินดังนี้
1. ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
2. ขนาดหน้าตัดของเสาเข็ม และความต่อเนื่องของเนื้อวัสดุเสาเข็ม
3. แต่การตรวจสอบนี้ไม่สามารถใช้ประเมินกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มได้ ทดสอบเข็ม
ขั้นตอนการทดสอบ มีดังนี้
1. หัวเสาเข็มที่จะทำการทดสอบต้องมีการทำความสะอาดไม่ให้มีเศษหินปูนและฝุ่นและควรปรับแต่งผิวให้เรียบก่อนทดสอบ
2. ติดตั้งตัวรับสัญญาณความเร่ง (PIT Accelerometer) บนหัวเสาเข็มจากนั้นทำการเคาะบนหัวเสาเข็มด้วยค้อนทดสอบ (Held Hammer) โดยแรงกระทำที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิดคลื่นความเค้น (Low-Strain Compression Wave) เดินทางลงไปในเสาเข็ม และเกิดการสะท้อนกลับขึ้นมาของคลื่นในรูปแบบต่างๆซึ่งจะสัมพันธ์กับพื้นที่หน้าตัดโมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุและความหนาแน่นความเร็วคลื่นที่เกิดขึ้นในเนื้อคอนกรีตนี้
3.สัญญาณในรูปแบบคลื่นนี้จะถูกบันทึกโดยตัวรับสัญญาณความเร่ง(PITAccelerometer)และจะส่งผ่านข้อมูลไปที่เครื่องแสดงผล (Tablet ) ในรูปแบบกราฟของความเร็วสัมพันธ์กับเวลา 4. จากนั้นก็จะนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการวิเคราะห์ และประมวลผลทดสอบด้วยโปรแกรม PIT-W Professional Version โดยเป็นไปตามมาตรฐาน ASTM D-5882 ทดสอบเข็ม ทดสอบความสมบูรณ์เสาเข็ม ทดสอบ เข็มตอก ทดสอบ เข็มเจาะ Seismic Test PET Test
วัตถุประสงค์ในการทดสอบเสาเข็ม เพื่อใช้ประเมินดังนี้
1. ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
2. ขนาดหน้าตัดของเสาเข็ม และความต่อเนื่องของเนื้อวัสดุเสาเข็ม
3. แต่การตรวจสอบนี้ไม่สามารถใช้ประเมินกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มได้ ทดสอบเข็ม
ขั้นตอนการทดสอบ มีดังนี้
1. หัวเสาเข็มที่จะทำการทดสอบต้องมีการทำความสะอาดไม่ให้มีเศษหินปูนและฝุ่นและควรปรับแต่งผิวให้เรียบก่อนทดสอบ
2. ติดตั้งตัวรับสัญญาณความเร่ง (PIT Accelerometer) บนหัวเสาเข็มจากนั้นทำการเคาะบนหัวเสาเข็มด้วยค้อนทดสอบ (Held Hammer) โดยแรงกระทำที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิดคลื่นความเค้น (Low-Strain Compression Wave) เดินทางลงไปในเสาเข็ม และเกิดการสะท้อนกลับขึ้นมาของคลื่นในรูปแบบต่างๆซึ่งจะสัมพันธ์กับพื้นที่หน้าตัดโมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุและความหนาแน่นความเร็วคลื่นที่เกิดขึ้นในเนื้อคอนกรีตนี้
3.สัญญาณในรูปแบบคลื่นนี้จะถูกบันทึกโดยตัวรับสัญญาณความเร่ง(PITAccelerometer)และจะส่งผ่านข้อมูลไปที่เครื่องแสดงผล (Tablet ) ในรูปแบบกราฟของความเร็วสัมพันธ์กับเวลา 4. จากนั้นก็จะนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการวิเคราะห์ และประมวลผลทดสอบด้วยโปรแกรม PIT-W Professional Version โดยเป็นไปตามมาตรฐาน ASTM D-5882 ทดสอบเข็ม ทดสอบความสมบูรณ์เสาเข็ม ทดสอบ เข็มตอก ทดสอบ เข็มเจาะ Seismic Test PET Test